สินค้ายอดฮิต

สินค้าใหม่

ค้นหาสินค้า
เกิด จาก การ ผสม พันธุ์ ระหว่าง ข้าว เจ้า พันธุ์ ขาว ดอก มะลิ 105 กลาย พันธุ์ จาก รังสี ทรง ต้น เตี้ย ( Semi - dwarf KDML105 ) ที่ มี ลักษณะ ต้านทาน ต่อ โรค ไหม้ ไม่ ไว ต่อ ช่วง แสง เป็น พันธุ์ แม่ กับข้าว เจ้า พันธุ์ สังข์ หยด ซึ่ง มี เยื่อ หุ้ม เมล็ด สี แดง ไว ต่อ ช่วง แสง อายุ หนัก ต้น สูง เป็น พันธุ์ พ่อ ที่ ศูนย์วิจัย ข้าว สุรินทร์ ใน ฤดู นาปรัง 2549 และ คัด เลือก ข้าว พันธุ์ ผสม แบบ สืบ ตระกูล ชั่ว ที่ 1 - 6 ใน ฤดู นาปี 2549 - 2554 ที่ ศูนย์วิจัย ข้าว สุรินทร์ และ ชั่ว ที่ 7 ใน ฤดู นาปี 2555 ที่ ศูนย์วิจัย ข้าว ชุมแพ จน ได้ ข้าว สาย พันธุ์ บริสุทธิ์ SRN06008 - 18 - 1 - 5 - 7 - CPA - 20 กรม การ ข้าว ได้ ยื่น จด ทะเบียน เพื่อ ขอรับ ความ คุ้มครอง พันธุ์ พืช ใหม่ ต่อ สำนัก คุ้มครอง พันธุ์ พืช กรม วิชาการ เกษตร กระทรวง เกษตร และ สหกรณ์ ใน ปี พ . ศ . 2558 โดย ใช้ ชื่อ พันธุ์ ว่า ทับทิมชุมแพ (ข้าวทับทิมชุมแพ 350 กรัม)
0.00 ฿ 0.0 THB
การคัดเลือกและพัฒนาพันธุ์ โดยการผสมข้ามพันธุ์ระหว่าง ข้าวเจ้าหอมนิล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (พันธุ์พ่อ) กับ ข้าวขาวดอกมะลิ 105(ข้าวหอมมะลิ) จากสถาบันวิจัยข้าว (พันธุ์แม่) โดยเริ่มผสมพันธุ์เมื่อปี พ.ศ. 2545 ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์ข้าว[1] มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จ. นครปฐม เมื่อได้ลูกผสม F1 ปล่อยให้มีการผสมตัวเอง แล้วเก็บเมล็ด F2 มาปลูกต่อซึ่งมีจำนวนมากกว่า 10,000 ต้น ทำการคัดเลือกต้น F2 จากการสังเกตลักษณะทรงต้นที่ให้ผลผลิตดี, การติดเมล็ดดี, รูปร่างเมล็ดเรียวยาว จากนั้นประเมินคุณภาพเมล็ดโดยกระเทาะเมล็ดแล้วสังเกตความสม่ำเสมอ สังเกตความใส-ขุ่นของเมล็ด การแตกหักจากการสี แล้วจึงคัดเลือก F3 family เพื่อปลูกและคัดเลือกครอบครัวที่มีต้น ที่ให้ผลผลิตสูง ติดเมล็ดดี ขนาดเมล็ดใหญ่ ยาวเรียว, ไม่เป็นโรคไหม้คอรวง, เปลือกเมล็ดสะอาด, คัดเลือกสายพันธุ์ที่มีเมล็ดข้าวกล้องสีม่วงเข้ม-ดำ, น้ำหนักเมล็ดต่อครอบครัวดี แล้วทำการคัดเลือกภายในครอบครัวให้ได้จำนวนประมาณ 2-5 ต้นในปี 2546 และทำเช่นนี้อีกในรุ่น F4 และ F5 ในปี 2547 จากนั้นทำการเปรียบเทียบผลผลิตในรุ่น F6 และ F7 ในปี 2548 โดยเลือกครอบครัว F6 จำนวน 96 ครอบครัว ปลูกแบบปักดำจำนวน 25 ต้น/ครอบครัว ทำเป็น 3 ซ้ำ เพื่อเปรียบเทียบผลผลิต ลักษณะที่แสดงออก, ปริมาณธาตุเหล็กและปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระชนิดต่างๆ แล้วทำการคัดเลือกต้นดีเด่นภายในครอบครัวแล้ว bulk ให้ครอบครัว F7 เพื่อปลูกเปรียบเทียบผลผลิตเป็นครั้งที่ 2 และวิเคราะห์คุณค่าทางโภชนาการซ้ำอีกครั้งหนึ่ง ทำให้ค้นพบข้าวเจ้าสีม่วงเข้ม เมล็ดเรียวยาว ที่มีสารต้านอนุมูลอิสระสูงและมีคุณค่าทางโภชนาการโดยรวมดีเด่น 1 สายพันธุ์ในปี พ.ศ. 2548 โดยให้ชื่อพันธุ์ว่า ไรซ์เบอร์รี่ (ข้าวไรซ์เบอร์รี่)
135.00 ฿ 135.0 THB
การคัดเลือกและพัฒนาพันธุ์ โดยการผสมข้ามพันธุ์ระหว่าง ข้าวเจ้าหอมนิล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (พันธุ์พ่อ) กับ ข้าวขาวดอกมะลิ 105(ข้าวหอมมะลิ) จากสถาบันวิจัยข้าว (พันธุ์แม่) โดยเริ่มผสมพันธุ์เมื่อปี พ.ศ. 2545 ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์ข้าว[1] มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จ. นครปฐม เมื่อได้ลูกผสม F1 ปล่อยให้มีการผสมตัวเอง แล้วเก็บเมล็ด F2 มาปลูกต่อซึ่งมีจำนวนมากกว่า 10,000 ต้น ทำการคัดเลือกต้น F2 จากการสังเกตลักษณะทรงต้นที่ให้ผลผลิตดี, การติดเมล็ดดี, รูปร่างเมล็ดเรียวยาว จากนั้นประเมินคุณภาพเมล็ดโดยกระเทาะเมล็ดแล้วสังเกตความสม่ำเสมอ สังเกตความใส-ขุ่นของเมล็ด การแตกหักจากการสี แล้วจึงคัดเลือก F3 family เพื่อปลูกและคัดเลือกครอบครัวที่มีต้น ที่ให้ผลผลิตสูง ติดเมล็ดดี ขนาดเมล็ดใหญ่ ยาวเรียว, ไม่เป็นโรคไหม้คอรวง, เปลือกเมล็ดสะอาด, คัดเลือกสายพันธุ์ที่มีเมล็ดข้าวกล้องสีม่วงเข้ม-ดำ, น้ำหนักเมล็ดต่อครอบครัวดี แล้วทำการคัดเลือกภายในครอบครัวให้ได้จำนวนประมาณ 2-5 ต้นในปี 2546 และทำเช่นนี้อีกในรุ่น F4 และ F5 ในปี 2547 จากนั้นทำการเปรียบเทียบผลผลิตในรุ่น F6 และ F7 ในปี 2548 โดยเลือกครอบครัว F6 จำนวน 96 ครอบครัว ปลูกแบบปักดำจำนวน 25 ต้น/ครอบครัว ทำเป็น 3 ซ้ำ เพื่อเปรียบเทียบผลผลิต ลักษณะที่แสดงออก, ปริมาณธาตุเหล็กและปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระชนิดต่างๆ แล้วทำการคัดเลือกต้นดีเด่นภายในครอบครัวแล้ว bulk ให้ครอบครัว F7 เพื่อปลูกเปรียบเทียบผลผลิตเป็นครั้งที่ 2 และวิเคราะห์คุณค่าทางโภชนาการซ้ำอีกครั้งหนึ่ง ทำให้ค้นพบข้าวเจ้าสีม่วงเข้ม เมล็ดเรียวยาว ที่มีสารต้านอนุมูลอิสระสูงและมีคุณค่าทางโภชนาการโดยรวมดีเด่น 1 สายพันธุ์ในปี พ.ศ. 2548 โดยให้ชื่อพันธุ์ว่า ไรซ์เบอร์รี่ (ข้าวไรซ์เบอร์รี่ 350 กรัม)
45.00 ฿ 45.0 THB
เกิด จาก การ ผสม พันธุ์ ระหว่าง ข้าว เจ้า พันธุ์ ขาว ดอก มะลิ 105 กลาย พันธุ์ จาก รังสี ทรง ต้น เตี้ย ( Semi - dwarf KDML105 ) ที่ มี ลักษณะ ต้านทาน ต่อ โรค ไหม้ ไม่ ไว ต่อ ช่วง แสง เป็น พันธุ์ แม่ กับข้าว เจ้า พันธุ์ สังข์ หยด ซึ่ง มี เยื่อ หุ้ม เมล็ด สี แดง ไว ต่อ ช่วง แสง อายุ หนัก ต้น สูง เป็น พันธุ์ พ่อ ที่ ศูนย์วิจัย ข้าว สุรินทร์ ใน ฤดู นาปรัง 2549 และ คัด เลือก ข้าว พันธุ์ ผสม แบบ สืบ ตระกูล ชั่ว ที่ 1 - 6 ใน ฤดู นาปี 2549 - 2554 ที่ ศูนย์วิจัย ข้าว สุรินทร์ และ ชั่ว ที่ 7 ใน ฤดู นาปี 2555 ที่ ศูนย์วิจัย ข้าว ชุมแพ จน ได้ ข้าว สาย พันธุ์ บริสุทธิ์ SRN06008 - 18 - 1 - 5 - 7 - CPA - 20 กรม การ ข้าว ได้ ยื่น จด ทะเบียน เพื่อ ขอรับ ความ คุ้มครอง พันธุ์ พืช ใหม่ ต่อ สำนัก คุ้มครอง พันธุ์ พืช กรม วิชาการ เกษตร กระทรวง เกษตร และ สหกรณ์ ใน ปี พ . ศ . 2558 โดย ใช้ ชื่อ พันธุ์ ว่า ทับทิม ชุมแพ (ข้าวทับทิมชุมแพ)
0.00 ฿ 0.0 THB